BREAKING NEWS

[5]
目指すは、来る多文化共生の時代 そのために日本と外国の文化の違いや気づきに関して、株式会社わかたむが日々収集しているコンテンツを「違い」と「びっくりおもしろい」という切り口でご紹介します。 下の、「ホーム」の横の△で「バックナンバー」をご覧いただけます。

タイ語の語順(タイ語の勉強ソン)

みなさん、สวัสดี ครับ(サワディーカップ)

※タイ語の勉強その1(ヌン)はコチラ
คลิกด้านบนเพื่ออ่านตอนที่ 1

日本人が結構苦労するタイ語の語順。
端的に言うと 名詞の語順が日本と逆 ということです。
ลำดับคำในภาษาไทย หนึ่งในสิ่งที่คนญี่ปุ่นประสบปัญหาเวลาเรียนภาษาไทย
พูดง่ายๆคือ การเรียงลำดับคำในภาษาไทยสลับกับการเรียงลำดับคำในภาษาญี่ปุ่น

例えば、
 日本人 というのが日本の語順
タイ語では 、
 คน ญี่ปุ่น
(コン=人 イープン=日本人)
ตัวอย่างเช่น คำว่าคนญี่ปุ่น
  ภาษาญี่ปุ่นคือ 日本 (นิฮน แปลว่า ญี่ปุ่น) 人 (จิน แปลว่า คน)
ส่วนภาษาไทยคือ คนญี่ปุ่น สรุปคือภาษาญี่ปุ่นเอาคำหลักไว้ด้านหลัง ส่วนภาษาไทยเอาไว้ด้านหน้า

これがどうにも慣れずに困りました。
ถ้ายังไม่ชินก็ค่อนข้างลำบาก

他にも
 豚骨ラーメンは→ラーメン 豚骨 になったりします。
นอกจากนี้
   ทงคตสึราเมง พอแปลเป็นไทยแล้ว จะกลายเป็น ราเมงต้มกระดูกหมู  (ทงคตสึ แปลว่า กระดูกหมู)

ひとまず慣れると何とかなるのですが、その中でかなり自分の中では驚愕の言葉がありました。
ถ้าชินแล้วก็พอจะเข้าใจได้ ในบรรดาคำต่างๆที่แปลลำดับคำสลับกัน มีคำนึงที่ผมตกใจมาก

それは、コレ
นั่นคือ สิ่งนี้



ムエタイ
มวยไทย

ずーっと生まれてこのかたムエタイというスポーツかと思っていましたが、実際は、
ตั้งแต่เกิดมาผมก็จำมาว่ามีกีฬาที่ว่านี้ชื่อว่า มวยไทย ซึ่งจริงๆแล้วคำว่า มวยไทย มาจาก

ムエ(キックボクシング)タイ(タイ)
Muay (boxing) Thai (Thailand)

だったのです。

いうなれば、柔道を「レスリング日本」といってるみたいなものですね。
น่าจะเทียบได้กับคำว่า จูโด ก็จะเป็น มวยปล้ำญี่ปุ่น นั่นเอง

まあ確かに日本語で調べるとムエタイはタイ式キックボクシングとなってますね。
และแน่นอนว่าถ้าเสิร์ชหาคำว่ามวยไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นแล้วล่ะก็จะได้ความหมายว่า มวยแบบไทย (Thai style kickboxing)

また、ほかにも日本のタイのガイドブックなどではよくみられる表記
「タイスキ」
日本にもあるMKレストランが有名です。
นอกจากนี้แล้ว สิ่งที่เห็นได้บ่อยๆในหนังสือนำเที่ยวประเทศไทยที่ญี่ปุ่น คือ
สุกี้ไทย
ร้านดังที่ญี่ปุ่นคือ ร้านเอ็มเค


あんな暑い国なのに鍋食べるんだと不思議に思い行ったら、店内超寒い 笑
ผมแปลกใจที่ประเทศไทยก็ร้อนขนาดนั้นทำไมกิน*นาเบะ
พอลองไปร้านสุกี้ดู โห ในร้านหนาวมาก 5555
*นาเบะ แปลว่า หม้อไฟ หรือ สุกี้ในภาษาไทย คนญี่ปุ่นนิยมรับประทานนาเบะในฤดูหนาวเพื่อช่วยเพิ่มความอบอุ่นในแก่ร่างกาย





これもスキー(鍋)タイ(タイ)です^^
かなりうまいしバリエーションも多く、今度は大人数で行きたいですね。
และนี่ก็คือสุกี้ไทยครับ
มีความหลากหลายน่ารับประทานมากๆ ถ้าครั้งหน้าไปกันหลายๆคนอย่างไปลองกินดูเหมือนกันครับ

タイ語の勉強サム(その3へ続きます

前のやつ、タイ語の勉強ヌン(その1)を読んでない方はコチラ